ปัญหาความไม่โปร่งใสการทุจริ
ก็ถือว่าเป็นปัญหาการทุจริต ต้องลงมือปฏิบัติให้เกิดผลจริงด้วยวิธีการป้องกัน ทั้งการปลูกฝัง รณรงค์ เรื่องการต่อต้านทุจริต เช่นกัน
เห็นได้จาก แนวร่วมปฏิบัติ
ในรูปแบบของแนวร่วมปฏิบัติ ซึ่งมีภาคเอกชนประกาศเจตนารมณ์
หัวใจหลักของโครงการ คือ
(1) เปลี่ยนทัศนคติผู้นำภาคธุรกิจให้ปฏิเสธการมีส่วนเกี่ยวข้องกั
(2) ผลักดันให้ภาครัฐปรับปรุ
(3)ส่งเสริมและขยายเครือข่
มุ่งมั่นที่จะทำธุรกิจโดยให้
แก่เจ้าหน้าที่ของรัฐทั้
ตลอดจนสนับสนุนและส่งเสริมให้บุ
นอกจากนั้น ยังมีกรณีศึกษาที่น่าสนใจของ บริษัทในภาคเอกชนที่ขับเคลื่อนสู่องค์กรคุณธรรม บนพื้นฐานการสร้างบุคลากรที่เป็
ฅนสมบูรณ์ (Smart People) คือการ สร้างคุณค่าต่อตนเอง องค์กร และสังคมมุ่งสร้างพนักงานให้เป็นคนเก่
ธุรกิจสมบูรณ์ (Business Trust) สร้างมูลค่า ตอบสนองผู้มีส่วนได้ส่วนเสียสร้างมูลค่าทางธุรกิจบนพื้
ชุมชนสมบูรณ์ (Growth Society) สร้างโอกาสเพื่อสังคมที่เข้มแข็
มุ่งเน้นที่การสร้างโอกาสด้
การปลูกฝังให้คนมีการเปลี่
หากทั้งภาครัฐและภาคเอกชนร่วมกั
การป้องกันปัญหาสินบนที่มีประสิ
และภาคธุรกิจไม่ต้องเสียต้นทุ
ปัญหาทุจริต มี 3 ระดับได้แก่
(1) การทุจริต ขนาดเล็ก การรับเงินที่ไม่ชอบธรรมหรือไม่ถูกต้องของเจ้าหน้าที่
เพื่อดำเนินการบางอย่างให้กับผู้
(2) การทุจริตขนาดใหญ่ ส่วนมากจะเป็นการคอร์รัปชัน ของเจ้าหน้าที่ระดับสูงที่รับเงินในรูปแบบของสินบนเป็
(3) การให้ของกำนัล ที่มีมูลค่า เช่น รถยนต์ สร้อยคอทองคำซื้อรายการท่องเที่ยวให้ไปพักผ่
ตามพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยการป้องกันและปราบปรามการทุจริต พ.ศ. 2561 และประมวลกฎหมายอาญา วางหลักว่า การติดสินบนมีความผิด ทั้งผู้ให้สินบน และผู้รับสินบน ตามมาตรา 143 ผู้ใดเรียก รับหรือยอมจะรับทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใดสำหรับตนเองหรือผู้อื่น เป็นการตอบแทนในการที่จะจูงใจหรือได้จูงใจเจ้าพนักงาน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งรัฐ สมาชิกสภาจังหวัดหรือสมาชิกสภาเทศบาล โดยทุจริตหรือผิดกฎหมาย หรือโดยอิทธิพลของตนให้กระทำการ หรือไม่กระทำการในหน้าที่อันเป็นคุณหรือเป็นโทษแก่บุคคลใด โทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
รับหรือยอมจะรับทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใดสำหรับตนเองหรือผู้อื่น เป็นการตอบแทนในการที่จะจูงใจหรือได้จูงใจเจ้าพนักงาน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งรัฐ สมาชิกสภาจังหวัดหรือสมาชิกสภาเทศบาล โดยทุจริตหรือผิดกฎหมาย หรือโดยอิทธิพลของตนให้กระทำการ หรือไม่กระทำการในหน้าที่อันเป็นคุณหรือเป็นโทษแก่บุคคลใด โทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
โดยทุจริตหรือผิดกฎหมาย หรือโดยอิทธิพลของตนให้กระทำการ หรือไม่กระทำการในหน้าที่อันเป็นคุณหรือเป็นโทษแก่บุคคลใด โทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา 144 ผู้ใดให้ ขอให้หรือรับว่าจะให้ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อื่นใดแก่เจ้าพนักงาน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งรัฐ สมาชิกสภาจังหวัดหรือสมาชิกสภาเทศบาล เพื่อจูงใจให้กระทำการ ไม่กระทำการ หรือประวิงการกระทำอันมิชอบด้วยหน้าที่ ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี หรือปรับไม่เกิน 100,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
มาตรา 149 ผู้ใดเป็นเจ้าพนักงาน สมาชิกสภานิติบัญญัติแห่งรัฐ สมาชิกสภาจังหวัด หรือสมาชิกสภาเทศบาล เรียก รับ หรือยอมจะรับทรัพย์สินหรือประโยชน์อื่นใดสำหรับตนเองหรือผู้อื่นโดยมิชอบ เพื่อกระทำการหรือไม่กระทำการอย่างใดในตำแหน่งไม่ว่าการนั้นจะชอบหรือมิชอบด้วยหน้าที่ โทษจำคุกตั้งแต่ 5-20 ปี หรือจำคุกตลอดชีวิต และปรับตั้งแต่ 100,000 - 400,000 บาท หรือประหารชีวิต
ในประเทศไทยมีกฎหมายปราบปรามการทุจริต มากเป็นอันดับต้น ๆ ในโลก คือ จำนวนกว่า 200 มาตรา และมีโทษสูงสุดร้ายแรง ถึงขั้นประหารชีวิต แต่ปัญหาบังคับใช้กฎหมายก็ไม่สามารถดำเนินการได้อย่างเต็มที่ เนื่องจากบางครั้งขาดหลักฐาน ไม่มีคนชี้ช่องเบาะแส (Whistleblower) ดังนั้นการสร้างการป้องกัน ด้วยการปลูกฝัง การรณรงค์ จึงอาจจะเป็นทางออกที่ดีกว่า การปราบปราม อีกทั้งความร่วมมือกันทุกภาคส่วนทั้งภาครัฐและเอกชน ในการดำเนินการต้านทุจริต ส่งผลให้ “ประเทศจะรุ่งเรือง เมื่อบ้านเมืองสุจริต”
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น