หลายครั้งที่เราอาจจะเคยได้ยิ
นว่าคนเราจะรู้คุณค่าของการใช้ ชีวิต ก็ต่อเมื่อเดินทางมาถึงวันสุดท้ ายของชีวิต แต่หากเราได้เคยลองพูดคุยกับกลุ่ มคนที่ทำงานอยู่ในสภาวะระหว่ างความเป็นความตาย เราอาจจะได้ยินแนวคิดการใช้ชีวิ ตที่แตกต่างออกไป “ทีมแพทย์ฉุกเฉิน” คือกลุ่มคนที่น่าจะตอบคำถามเรื่ องคุณค่าของการใช้ชีวิตได้ดีที่ สุด เพราะพวกเขาเหล่านี้ต้ องทำงานคลุกคลีอยู่กับความเป็น ความตายและสถานการณ์ฉุกเฉิ นของผู้คนในแต่ละวัน โดยเฉพาะในสถานการณ์โควิดที่ ยอดผู้ติดเชื้อในแต่ละวั นของไทยยังทะลุหลักหมื่นคน การทำงานของทีมแพทย์ฉุกเฉินเหล่ านี้ยังคงต้องขับเคลื่อนต่ อไปแม้ว่าเหตุการณ์จะยังไม่ทุ เลาลงก็ตาม
ชีวิตนักกู้ชีพฉุกเฉินที่หั
วใจและร่างกายต้องพร้อมไปด้วยกั น นายย๊ะหยา มั่นคง, นายศุภกิตติ์ เวียนเสี้ยว, นายณัฐกิต ศรีเนาเวช และนายสุรศักดิ์ แต้มครบุรี คือ 4 หนุ่มตัวแทนแห่งหน่วยปฏิบัติ
การฉุกเฉินการแพทย์ โรงพยาบาลรามาธิบดีจักรีนฤบดิ นทร์ ที่มาร่วมแชร์แนวคิ ดและประสบการณ์ทำงานในฐานะนั กปฏิบัติการฉุกเฉินการแพทย์ที่ ต้องรับมือกับสถานการณ์ฉุกเฉิ นเร่งด่วนในทุกๆวัน
“สิ่งที่ทำให้พวกเรามาอยู่ร่
เพราะชีวิตจริงไม่มีสแตนด์อิน และการสั่งคัต
“สถานการณ์ฉุกเฉินที่ที
A-B-C-D คีย์เวิร์ดสำคัญของทีมเวิร์ค
ด้วยบทบาทหน้าที่ของทีมปฏิบัติ
การฉุกเฉินเหล่านี้คื อการทำงานแข่งกับความเร่งด่ วนเวลา เพื่อให้เกิดความสูญเสียน้อยที่ สุดในทุกๆครั้งที่ออกไปปฏิบัติ งานพวกเขาจะมีการวางแผนและแบ่ งหน้าที่ในทีมอยู่เสมอ
“ในการปฏิบัติงานทุกครั้
ชอบทำงานแข่งกับเวลา DNA สำคัญของแพทย์ฉุกเฉิน
ผศ.ดร.นพ.พงศกร อธิกเศวตพฤทธิ์ รองผู้
อำนวยการโรงพยาบาลรามาธิบดีจั กรีนฤบดินทร์ หรืออาจารย์บอลลูน ที่ทำหน้าที่สอนนักศึกษาแพทย์ ในส่วนของเวชศาสตร์ฉุกเฉินพร้ อมควบตำแหน่งดูแลหน่วยปฏิบัติ การฉุกเฉินการแพทย์ด้วยเช่นกัน จากความชอบในการทำงานแข่งกั บเวลาทำให้อาจารย์บอลลูนมีเป้ าหมายแน่วแน่หลังเรียนจบแพทย์ จนตัดสินใจมาเรียนต่อด้ านเวชศาสตร์ฉุกเฉินในทันที “ย้อนกลับไปหลายปีที่แล้วภาควิ
ชาเวชศาสตร์ฉุกเฉินถือเป็นสิ่ งใหม่มากในวงการแพทย์ของไทย ผมเองเป็นรุ่นที่ 2 ที่เข้าเรียนสาขานี้หลังจากที่ รามาธิบดีเปิดสอน ผมมองว่าจุดร่วมสำคัญของแพทย์ที่ ตัดสินใจเรียนต่อด้านเวชศาสต์ฉุ กเฉินคือการเป็นคนที่ ชอบทำงานแข่งกับเวลา ถนัดในการทำหัตการในเวลาที่จำกั ด และต้องเป็นคนที่คิดไวกล้าตัดสิ นใจในสถานการณ์ที่กดดันและต้ องรับมือกับความเครียดได้ดี อีกอย่างที่สำคัญคือการที่เราต้ องจัดการอารมณ์ได้ดี เพราะนอกจากความเครี ยดของการทำงานแล้วการรับมือกั บอารมณ์ของผู้ป่วยของญาติก็เป็ นสิ่งสำคัญ”
จากหมอฉุกเฉินที่รักในอาชีพสู่
บทบาทครูแพทย์ อาจารย์บอลลูนเป็นอีกหนึ่งตั
วอย่างของแพทย์ที่มีความรั กในอาชีพและก้าวสู่สเต็ปการเป็ นอาจารย์แพทย์เพื่อถ่ายทอดองค์ ความรู้และแนวคิดการทำงานให้แก่ เหล่านักศึกษาแพทย์และทีมบุ คลากรในหน่วยงานเวชศาสตร์ฉุกเฉิ น ซึ่งแต่ละปีประเทศไทยจะเปิดฝึ กอบรมแพทย์สาขาวิชานี้ประมาณ 150 คนต่อปี โดยที่คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธิบดี ก็มีการผลิตแพทย์เวชศาสตร์ฉุ กเฉินปีละประมาณ 14 รายต่อปี “หากเป็นสมัยก่อนตอนที่ยังไม่มี
การผลิตแพทย์เวชศาสตร์ฉุกเฉิน หมอส่วนใหญ่ที่มาลงเวรในห้องฉุ กเฉินก็จะเป็นหมออายุรกรรม, หมอศัลยกรรม หมอสูตินรีเวชหรือแพทย์ใช้ทุ นเป็นส่วนใหญ่ ดังนั้นตอนที่ภาควิชาเวชศาสตร์ ฉุกเฉินเริ่มพัฒนาหลักสู ตรและให้โอกาสผมได้เรียนต่อ รวมทั้งเข้ามาเป็นอาจารย์ ประจำภาควิชานี้ จึงเปรียบเสมือนการสานต่อความฝั นทำให้ผมได้ถ่ายทอดแนวคิ ดการทำงาน การใช้ชีวิตและปลูกฝังการเป็ นแพทย์ที่ดีต่อไปในอนาคต ยิ่งในตอนนี้ที่บุ คลากรทางการแพทย์อย่างเราๆ ต้องรับมือกับการดูแลผู้ป่ วยโควิดไม่เว้นในแต่ละวัน ผมมองว่าคนเป็นแพทย์เองก็ต้ องเข้มแข็งขึ้นเพื่อให้ เราสามารถเป็นที่พึ่งให้กับผู้ ป่วยได้”
ภารกิจด้านการพัฒนาบริการด้านสุ
ขภาพและการยกระดับการเรี ยนการสอนของหลักสูตรแพทย์ นับเป็นภารกิจสำคัญที่จะช่วยให้ ระบบสาธารณสุขไทยก้าวไกลยิ่งขึ้ น ซึ่งรามาธิบดีก็มุ่งหวังที่ จะเป็นกำลังสำคัญในการสร้ างมาตรฐานการแพทย์ให้มีคุ ณภาพในระดับโลกต่อไป สำหรับผู้มีจิตศรัทธาสามารถร่ วมบริจาคเพื่อสนับสนุ นการทำงานของแพทย์ในทุกภารกิ จได้ผ่านมูลนิธิรามาธิบดีฯ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น